ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประจำปีการศึกษา 2566

  • ปริญญาตรี  คณะเศรษฐศาสตร์

    สถาบันที่สำเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ 

    สถาบันที่สำเร็จการศึกษา วิทยาลัยวิลเลียม รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา 

ตำแหน่งงานปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งกรรมการกฤษฎีกาพร้อมกับศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม

ชื่อหน่วยงาน  

ที่ตั้งของหน่วยงาน เลขที่   อาคาร 

ตรอก/ซอย  –  ถนน  แขวง    เขต 

จังหวัด   รหัสไปรษณีย์  

โทรศัพท์  โทรสาร  

e-mail  –  

ปี พ.ศ. 2539-2542 ผลงาน ผอ. กองวิเคราะห์ฯ เศรษฐกิจ 

ปี พ.ศ. 242-2543  ผลงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและแผน 

ปี พ.ศ. 2543-2546  ผลงาน ผู้ช่วยเลขาธิการ สศช.  

ปี พ.ศ.  2546 – 2547 ผลงาน ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน 

ปี พ.ศ. 2547  ผลงาน รองเลขาธิการ สศช.  

ปี พ.ศ. 2553  ผลงาน เลขาธิการ สศช.  

ปี พ.ศ. 2557  ผลงาน สมาชิสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  

ปี พ.ศ. 2557  ผลงาน รมช. คมนาคม รัฐบาล “พล.อ.ประยุทธ์”  

ปี พ.ศ. 2558  ผลงาน รมว. คมนาคม แทน พล.อ.อ.ประจิน  จั่นตอง 

          ต่อมานายอาคม ยื่นลาออกจากข้าราชการในตำแหน่งเลขาธิการ สศช. เนื่องจากดำรงตำแหน่ง รมว.คมนาคม และข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี ให้ข้าราชการประจำที่ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรี เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป

       อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้รับการคัดเลือกให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแห่งปี 2566 (Finance Minister of the Year 2023) ของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก จากนิตยสาร The Banker ในเครือ Financial Times  เป็นสิ่งพิมพ์ด้านเศรษฐกิจและการเงินชั้นนำ ได้รับความเชื่อถือในระดับสากลรวมทั้งการบริหารงานด้านเศรษฐกิจมีการใช้หลายมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19โดยเฉพาะมาตรการเศรษฐกิจ มุ่งช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มเปราะบางการสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำให้แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยวและมาตรการกระตุ้นการบริโภคในประเทศอาทิ มาตรการคนละครึ่ง เป็นต้นรวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Economy) ผ่านมาตรการทางภาษีต่าง ๆ จนทำให้เศรษฐกิจไทยได้กลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง 

  และยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมด้านคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศญี่ปุ่นและไทยและได้รับมอบเครื่องราชฯ ตระกูลมงกุฏแสงแห่งอาทิตย์ ชั้นที่ 2 เป็นเครื่องราชรองจากสูงสุดที่ให้กับคนต่างชาติ โดยสมเด็จพระจักพรรดินารุฮิโตะ แห่งประเทศญี่ปุ่น เป็นประธานในพิธี และมีนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ฟูมิโอะ คิชิดะ เป็นผู้มอบเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2567

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย 

พ.ศ. 2553 –  เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) 

พ.ศ. 2551 –  เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) 

พ.ศ. 2547 –  เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) 

 

รางวัลเกียรติยศอื่น ๆ  

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศญี่ปุ่น : พ.ศ. 2567 –  เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย ชั้นที่ 2